พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
พระพุทธรูป ศิลป...
พระพุทธรูป ศิลปะแบบพระรัชกาล หน้าตัก ๘.๕ นิ้ว
พระพุทธรูปศิลปะแบบพระรัชกาล
ประทับนั่งทำปางมารวิชัย หน้าตัก ๘.๕ นิ้ว
บนบัวคว่ำบัวหงาย อย่างบัวพระพุทธชินราช
พระพุทธรูปองค์นี้เป็นพระพุทธรูปสำคัญ
เนื่องจากเป็นพระที่เทหล่อนำฤกษ์ และปิดท้าย
ด้วยพระพุทธองสมเด็จฯท่านตามลำดับ
เป็นงานของอาจารย์เจริญ (จำเริญ พัฒนางกูร)
แห่งโรงหล่อพัฒนช่าง มีเอกลักษณ์ในการใช้แม่พิมพ์
การขึ้นดินหุ่นแกนทราย การทำหุ่นเทียน การหล่อหลอมโลหะ
ด้วยส่วนผสมเฉพาะตัว จึงทำให้เนื้อโลหะ มีสีสันวรรณะ
ของผิวภายนอกเหมือนพระกริ่งในพิธีทุกประการ
เนื่องจากใช้น้ำทองจากเบ้าเดียวกัน
ทั้งนี้เป็นพระที่อยู่ในตู้ ไม่ได้ถูกฝุ่นหรือโดนอากาศ
หรือการสัมผัสจากภายนอกเท่าไหร่
ผิวพระจึงแสดงถึงคุณสมบัติของส่วนผสมให้ได้รับชม
จากผิวชั้นนอกมีลักษณะผิวกลับน้ำตาลอมดำขึ้นเป็นมัน
ในส่วนที่ถูกสัมผัส ตามซอกที่ไม่ถูกสัมผัส จะแห้งขึ้นผิว
เหลือบรุ้ง เนื้อโลหะชั้นในเป็นสีขาว

ถ้าศึกษางานของสมเด็จฯท่านจะพบว่าท่านจะหล่อ
พระกริ่งทุกปี ในวันเพ็ญเดือนสิบสอง ซึ่งจะตรงกับ
วันพระราชสมภพ จำนวนการจัดสร้างตามกำลังวัน
ตั้งแต่กริ่งเทพโมลี ที่สมเด็จฯท่านได้ริเริ่มสถาปนา
โดยใช้พิมพ์กริ่งหลวงเป็นต้นแบบแล้วพัฒนา
ขึ้นเป็นพิมพ์กริ่งเทพโมฬีนั้น จนถึงกริ่งพระวันรัต
(ประมาณพ.ศ.๒๔๔๑ - ๒๔๗๖) ล้วนแต่เป็นงาน
ของอาจารย์เจริญ เป็นช่างประจำของสมเด็จท่านเสมอมา
เมื่อสื้นอาจารย์เจริญ จึงเว้นเว้นการสร้างพระกริ่ง
ไป จนกระทั่งปี ๒๔๗๙ จึงได้ให้อาจารย์หรัส (จำรัส พัฒนางกูร)
ผู้เป็นทายาทและเป็นผู้สืบทอดงานของพัฒนช่าง
ดำเนินการจัดทำพิมพ์กริ่ง ๗๙ ขึ้นมาใหม่
โดยใช้พิมพ์พระวันรัตเป็นต้นแบบ ซึ่งจะเป็นพิมพ์
ที่แตกต่างออกไปจากเดิมพิมพ์ คือ
กริ่งเทพโมลี กริ่งธรรมโกษาจารย์ กริ๋งพรหมมุนี
และกริ่งพระวันรัต
โดยการแบ่งและการเรียกชื่อกริ่งในปัจจุบัน
เป็นไปตามลำดับของสมณศักดิ์ของสมเด็จฯ
ที่ได้รับการโปรดเกล้าฯพระราชทานเลื่อนชั้นในโอกาสต่างๆ
หากแต่ความเป็นจริงแล้ว
ไม่มีใครที่จะทราบได้เลย ว่าในแต่ละปีนั้น
สมเด็จฯท่านให้ใช้พิมพ์ใดในการสร้างพระ
และสร้างเป็นจำนวนเท่าไหร่ เนื่องจากทั้งหลายทั้งปวง
เป็นการจัดสร้างส่วนแบบส่วนพระองค์
หลักฐานที่นักนิยมพระก็เป็นหลักฐานในชั้นหลัง
ผ่านบันทึกของพระครูหนู (นิรันดร์ แดงวิจิตร)
ได้จดบันทึกไว้ ซึ่งขณะที่บวชเป็นเณร (๒๔๖๗)
ก็ไม่ได้จำวัดอยู่วัดสุทัศน์ แต่กลับมาจำพรรษา
อยู่วัดสุทัศน์เมื่อปี (๒๔๗๓)

ฉะนั้น
เรื่องราวของสมเด็จฯท่าน เกี่ยวกับการสร้างพระกริ่ง
พระชัย และศาสนวัตถุในสมเด็จฯในชั้นหลัง
จากคำบอกเล่าผ่านบุคคลต่างๆ อาจต้องใช้วิจารณญาน
ทบทวนตรวจสอบ ถึงลำดับเนื้อหา ตามห้วงเวลาดังกล่าว
ประกอบกับการใช้พยานวัตถุและการพิจารณาถึง
ฝีมือช่างในงานแต่ละชิ้น เพื่อพิจารณาสืบย้อนขึ้นไป
ถึงแต่ละโอกาสและจำนวนที่จัดสร้าง ว่ามีความสมเหตุสมผล
สอดคล้องต้องกันหรือไม่ อย่างไร

กลับมาที่พระพุทธรูปองค์นี้
สามารถอ่านถึงงานเชิงช่างจากการขัดแต่ง
ไล่เส้น นวลผิว และสางดินใต้ฐานออกอย่างประณีต
เป็นพระที่มิเสียแรงที่รอคอยเป็นระยะเวลาอันยาวนาน
กระทั่งท่านผู้เป็นทายาทเจ้าของเดิมได้
มอบให้ไว้กราบไหว้บูชาครับ
ผู้เข้าชม
1189 ครั้ง
ราคา
เพื่อการศึกษาเท่านั้น
สถานะ
โชว์พระ
โดย
ชื่อร้าน
Buranasilpa
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
facebook : Buranasilpa Gallery (ร้านบุราณศิลป์)
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
045-5-057xx-x

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
somemanpraserthpratharn_psomphopSadman751ponsrithong2
Beerchang พระเครื่องPakawat34 ep8600เนินพระ99แมวดำ99นานา
termboonพุทธศาสตร์99ยุ้ย พลานุภาพเปียโนgorn9เจ ท่าช้าง
Le29Amulettplaskaew กจ.สยามพระเครื่องไทยโกหมูchaithawat
ตุ๊ก แปดริ้วนรินทร์ ทัพไทยMuthitaเทพจิระเพชร สารคามมนต์เมืองจันท์

ผู้เข้าชมขณะนี้ 614 คน

เพิ่มข้อมูล

พระพุทธรูป ศิลปะแบบพระรัชกาล หน้าตัก ๘.๕ นิ้ว




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
พระพุทธรูป ศิลปะแบบพระรัชกาล หน้าตัก ๘.๕ นิ้ว
รายละเอียด
พระพุทธรูปศิลปะแบบพระรัชกาล
ประทับนั่งทำปางมารวิชัย หน้าตัก ๘.๕ นิ้ว
บนบัวคว่ำบัวหงาย อย่างบัวพระพุทธชินราช
พระพุทธรูปองค์นี้เป็นพระพุทธรูปสำคัญ
เนื่องจากเป็นพระที่เทหล่อนำฤกษ์ และปิดท้าย
ด้วยพระพุทธองสมเด็จฯท่านตามลำดับ
เป็นงานของอาจารย์เจริญ (จำเริญ พัฒนางกูร)
แห่งโรงหล่อพัฒนช่าง มีเอกลักษณ์ในการใช้แม่พิมพ์
การขึ้นดินหุ่นแกนทราย การทำหุ่นเทียน การหล่อหลอมโลหะ
ด้วยส่วนผสมเฉพาะตัว จึงทำให้เนื้อโลหะ มีสีสันวรรณะ
ของผิวภายนอกเหมือนพระกริ่งในพิธีทุกประการ
เนื่องจากใช้น้ำทองจากเบ้าเดียวกัน
ทั้งนี้เป็นพระที่อยู่ในตู้ ไม่ได้ถูกฝุ่นหรือโดนอากาศ
หรือการสัมผัสจากภายนอกเท่าไหร่
ผิวพระจึงแสดงถึงคุณสมบัติของส่วนผสมให้ได้รับชม
จากผิวชั้นนอกมีลักษณะผิวกลับน้ำตาลอมดำขึ้นเป็นมัน
ในส่วนที่ถูกสัมผัส ตามซอกที่ไม่ถูกสัมผัส จะแห้งขึ้นผิว
เหลือบรุ้ง เนื้อโลหะชั้นในเป็นสีขาว

ถ้าศึกษางานของสมเด็จฯท่านจะพบว่าท่านจะหล่อ
พระกริ่งทุกปี ในวันเพ็ญเดือนสิบสอง ซึ่งจะตรงกับ
วันพระราชสมภพ จำนวนการจัดสร้างตามกำลังวัน
ตั้งแต่กริ่งเทพโมลี ที่สมเด็จฯท่านได้ริเริ่มสถาปนา
โดยใช้พิมพ์กริ่งหลวงเป็นต้นแบบแล้วพัฒนา
ขึ้นเป็นพิมพ์กริ่งเทพโมฬีนั้น จนถึงกริ่งพระวันรัต
(ประมาณพ.ศ.๒๔๔๑ - ๒๔๗๖) ล้วนแต่เป็นงาน
ของอาจารย์เจริญ เป็นช่างประจำของสมเด็จท่านเสมอมา
เมื่อสื้นอาจารย์เจริญ จึงเว้นเว้นการสร้างพระกริ่ง
ไป จนกระทั่งปี ๒๔๗๙ จึงได้ให้อาจารย์หรัส (จำรัส พัฒนางกูร)
ผู้เป็นทายาทและเป็นผู้สืบทอดงานของพัฒนช่าง
ดำเนินการจัดทำพิมพ์กริ่ง ๗๙ ขึ้นมาใหม่
โดยใช้พิมพ์พระวันรัตเป็นต้นแบบ ซึ่งจะเป็นพิมพ์
ที่แตกต่างออกไปจากเดิมพิมพ์ คือ
กริ่งเทพโมลี กริ่งธรรมโกษาจารย์ กริ๋งพรหมมุนี
และกริ่งพระวันรัต
โดยการแบ่งและการเรียกชื่อกริ่งในปัจจุบัน
เป็นไปตามลำดับของสมณศักดิ์ของสมเด็จฯ
ที่ได้รับการโปรดเกล้าฯพระราชทานเลื่อนชั้นในโอกาสต่างๆ
หากแต่ความเป็นจริงแล้ว
ไม่มีใครที่จะทราบได้เลย ว่าในแต่ละปีนั้น
สมเด็จฯท่านให้ใช้พิมพ์ใดในการสร้างพระ
และสร้างเป็นจำนวนเท่าไหร่ เนื่องจากทั้งหลายทั้งปวง
เป็นการจัดสร้างส่วนแบบส่วนพระองค์
หลักฐานที่นักนิยมพระก็เป็นหลักฐานในชั้นหลัง
ผ่านบันทึกของพระครูหนู (นิรันดร์ แดงวิจิตร)
ได้จดบันทึกไว้ ซึ่งขณะที่บวชเป็นเณร (๒๔๖๗)
ก็ไม่ได้จำวัดอยู่วัดสุทัศน์ แต่กลับมาจำพรรษา
อยู่วัดสุทัศน์เมื่อปี (๒๔๗๓)

ฉะนั้น
เรื่องราวของสมเด็จฯท่าน เกี่ยวกับการสร้างพระกริ่ง
พระชัย และศาสนวัตถุในสมเด็จฯในชั้นหลัง
จากคำบอกเล่าผ่านบุคคลต่างๆ อาจต้องใช้วิจารณญาน
ทบทวนตรวจสอบ ถึงลำดับเนื้อหา ตามห้วงเวลาดังกล่าว
ประกอบกับการใช้พยานวัตถุและการพิจารณาถึง
ฝีมือช่างในงานแต่ละชิ้น เพื่อพิจารณาสืบย้อนขึ้นไป
ถึงแต่ละโอกาสและจำนวนที่จัดสร้าง ว่ามีความสมเหตุสมผล
สอดคล้องต้องกันหรือไม่ อย่างไร

กลับมาที่พระพุทธรูปองค์นี้
สามารถอ่านถึงงานเชิงช่างจากการขัดแต่ง
ไล่เส้น นวลผิว และสางดินใต้ฐานออกอย่างประณีต
เป็นพระที่มิเสียแรงที่รอคอยเป็นระยะเวลาอันยาวนาน
กระทั่งท่านผู้เป็นทายาทเจ้าของเดิมได้
มอบให้ไว้กราบไหว้บูชาครับ
ราคาปัจจุบัน
เพื่อการศึกษาเท่านั้น
จำนวนผู้เข้าชม
1190 ครั้ง
สถานะ
โชว์พระ
โดย
ชื่อร้าน
Buranasilpa
URL
เบอร์โทรศัพท์
089-783-8460
ID LINE
facebook : Buranasilpa Gallery (ร้านบุราณศิลป์)
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารไทยพาณิชย์ / 045-5-057xx-x




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี